บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2019

ธาตุแทรนซิชัน

รูปภาพ
      Homepage ธาตุแทรนซิชัน ธาตุแทรนซิชัน  (transition elements) ตำแหน่งของธาตุแทรนซิชันในตารางธาตุ  อยู่ระหว่างหมู่ IIA และ IIIA ประกอบด้วยธาตุหมู่  IB ถึงหมู่VIIIB รวม ทั้งกลุ่มแลนทาไนด์กับกลุ่มแอกทิไนด์ ดังรูป     สมบัติของธาตุแทรนซิชัน   ธาตุแทรนซิชันทุกธาตุเป็นโลหะ แต่มีความแข็งแรง  เหนียวและทนทานกว่าโลหะหมู่  A  ในที่นี้จะศึกษาสมบัติของธาตุแทรนซิชันเฉพาะคาบที่  4  เป็นธาตุคาบแรกที่มีธาตุแทรนซิชัน  ประกอบด้วยธาตุที่มีเลขเชิงอะตอม  19  ถึง  36  ธาตุแทรนซิชันที่อยู่ในคาบนี้คือธาตุที่มีเลขเชิงอะตอมตั้งแต่  21-30  ธาตุสแกนเดียม  (Sc) เป็นธาตุแทรนซิชันที่มีเลขเชิงอะตอมต่ำสุด  ดังรูป ตารางเปรียบเทียบสมบัติของโลหะหมู่   A  กับโลหะแทรนซิชันคาบที่ 4   ธาตุ\สมบัติ เลขเชิง อะตอม รัศมีอะตอม ในโลหะ(pm) จุดหลอมเหลว ( o C) จุดเดือด ( o C) ความหนาแน่น (g/cm 3 ) IE 1 (kJ/mol) อิเล็กโตร เนกาติวิตี K 19 227 64 760 0.86 425 0.82 Ca 20 197 839 1490 1.54 596 1.00 Sc 21 160 1540 2730 3.0 632 1.

สมบัติคอลิเกทิฟของสารละลาย

รูปภาพ
Homepage สมบัติคอลิเกทิฟของสารละลาย สารละลายเป็นสารเนื้อเดียวที่ได้จากการผสมสารบริสุทธ์ตั้งแต่  2  ชนิดขึ้นไปเข้าด้วยกัน ถ้าสารที่นำมาผสมกันมีสถานะเดียวกันจะถือว่าสารที่มีปริมาณมากที่สุดเป็นตัวทำละลาย ส่วนสารที่มีปริมาณน้อยกว่าเป็นตัวละลาย จุดเดือดของสารละลายสูงกว่าตัวทำละลายบริสุทธิ์ และจุดหลอมเหลวของสารละลายต่ำกว่าตัวทำทำละลายบริสุทธิ์ และถ้าสารละลายที่มีความเข้มข้นในหน่วยโมลต่อกิโลกรัมเท่ากัน จะมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวเท่ากัน โดยที่ตัวละลายจะเป็นสารใดก็ได้แต่ต้องเป็นสารที่ระเหยยากและไม่แตกตัวเป็นไอออน ส่วนสารละลายที่มีความเข้มข้นต่างกัน แม้จะมีตัวทำละลายชนิดเดียวกันก็มีค่าจุดเดือดและจุดหลอมเหลวไม่เท่ากัน 1. จุดเดือด      = จุดเดือดของสารละลาย - จุดเดือดของตัวทำละลาย (องศาเซลเซียส)        K b  = ค่าคงที่ของการเพิ่มขึ้นของจุดเดือดของสารละลาย (องศาเซลเซียส/mol/kg)        m = ความเข้มข้นของสารละลาย (mol/kg)        m 1  = มวลตัวถูกละลาย (g)        m 2  = มวลของตัวทำละลาย (g)        MW 1  = มวลโมเลกุลของตัวถูกละลาย  2. จุดหลอมเหลว (หรือจุดเยือกแข็ง)            = จ